ส่วนที่ 2
ส่วนที่ 2 ค่าภาระและค่าบริการเรียกเก็บจากผู้นำเข้าหรือผู้ส่งออก
201. ค่าภาระยกขนสินค้า (Wharf Handling Charge)
|
|
|
|
เป็นค่ายกขนสินค้าทั่วไปขาเข้า จากที่เก็บสินค้าเพื่อส่งมอบให้แก่ผู้นำเข้า ณ ที่เก็บสินค้านั้น หรือเป็นค่าใช้ท่า ในการยกขนสินค้าทั่วไปขาออก ที่นำผ่านท่าเข้าเขตศุลกากรทางบก หรือทางน้ำ จนถึงที่เก็บสินค้า เพื่อบรรทุกลงเรือ หรือบรรจุเข้าตู้สินค้า LCL เรียกเก็บในอัตราดังนี้
|
|
201.1. สินค้าขาเข้า (Import Cargo)
|
80 บาท / ตัน
|
201.2. สินค้าขาออก (Export Cargo)
|
|
201.2.1. นำผ่านท่าเข้าเขตศุลกากรทางบก
|
|
201.2.1.1. ทางรถยนต์
|
บาท / คัน
|
1.) รถบรรทุกขนาดไม่เกิน 1.1 ตัน
|
50
|
2.) รถบรรทุก 4 ล้อ
|
150
|
3.) รถบรรทุก 6 ล้อ
|
300
|
4.) รถบรรทุก 8-10 ล้อ
|
400
|
5.) รถเทรลเลอร์
|
850
|
201.2.1.2. ทางรถไฟ
|
บาท / ตู้
|
1.) ตู้รถไฟ 4 ล้อ
|
300
|
2.) ตู้รถไฟ 8 ล้อ
|
600
|
201.2.2. นำผ่านท่าเข้าเขตศุลกากรทางน้ำ
|
26 บาท / ตัน
|
|
|
202. ค่าภาระยกขนสินค้าเพิ่มเติม (Additional Wharf Handling Charge)
|
|
|
|
|
บาท / ตัน
|
202.1. สินค้าขาเข้าที่นำออกมายังที่ตรวจปล่อย แล้วขนกลับไว้ในที่เก็บ
สินค้าและขนออกมาตรวจปล่อยอีกครั้ง หรือเพื่อส่งมอบ หรือสินค้าขาเข้า ส่งกลับ (Re-export) เรียกเก็บเพิ่มขึ้นอีก |
26
|
202.2. สินค้าขาเข้าที่มิได้นำออกนอกเขตศุลกากร เกินกว่า 30 วัน นับถัดจาก
วันเสร็จสิ้นการขนถ่ายของเรือ เรียกเก็บเพิ่มขึ้นอีก |
26
|
202.2. สินค้าทัณฑ์บนที่ส่งมอบให้แก่เจ้าของสินค้า เรียกเก็บเพิ่มขึ้นอีก
|
35
|
|
|
203. ค่าภาระแรงงานพิเศษ (Extra Labour Charge)
|
|
|
|
|
บาท / ตัน
|
เป็นค่าแรงงานและสถานที่ เพื่อดำเนินการอย่างอื่นเกี่ยวกับสินค้า
นอกเหนือจากการยกขนสินค้า ตามลำดับที่ 201 และ 204 (เช่น ปิดฉลาก ปิดอากรแสตมป์ มัดลวดตีตรา คัดแยกสินค้า ฯลฯ) เรียกเก็บในอัตราดังนี้ |
15
|
|
|
204. ค่าภาระฝากสินค้า (Cargo Storage)
|
|
|
|
ค่าภาระฝากสินค้า ขั้นต่ำ
|
20 บาท
|
204.1. สินค้าขาเข้า (Import Cargo)
|
|
เป็นค่าเก็บรักษาสินค้าทั่วไปและสินค้าระบบตู้สินค้า LCL ที่มิได้นำออกนอกเขตศุลกากร ได้รับสิทธิไม่ต้องเสีย ค่าภาระฝากสินค้า 3 วัน นับถัดจากวันเสร็จสิ้นการขนถ่ายของเรือ สำหรับสินค้าอันตรายหรือสินค้าวัตถุไวไฟ ที่มีจุดวาบไฟ 61 C หรือ 141 F หรือต่ำกว่า ได้รับสิทธิไม่ต้องเสียค่าภาระฝากสินค้า 1 วันนับถัดจากวันเสร็จสิ้นการขนถ่ายของสินค้ารายนั้น ๆ เมื่อพ้นระยะเวลาที่ได้รับสิทธิดังกล่าว จะเรียกเก็บเป็นรายวันในอัตราดังนี้
|
|
|
บาท / ตัน / วัน
ระยะเวลาฝากสินค้า (วัน) 1-7 8-14 ตั้งแต่ 15 |
204.1.1. สินค้าทั่วไป
|
5 10 15
|
204.1.2. ยานพาหนะที่ไม่บรรจุหีบห่อ
|
10 20 30
|
204.1.3. สินค้าอันตราย สินค้าวัตถุระเบิดหรือวัตถุไวไฟ ที่มีจุดวาบไฟ 61 C หรือ 141 F หรือต่ำกว่า
|
15 30 45
|
|
|
204.2. สินค้ามีค่า (Valuable Cargo)
|
|
เป็นค่าเก็บรักษาสินค้ามีค่าทั้งที่อยู่นอกหรือในตู้สินค้า เรียกเก็บเป็นรายวัน นับถัดจากวันเสร็จสิ้นการขนถ่าย ของสินค้านั้นๆ ในอัตราร้อยละ 1 ของมูลค่าของสินค้านั้น
|
|
|
|
204.3. สินค้าทัณฑ์บน (Bonded Cargo)
|
|
เรียกเก็บเป็นรายวัน นับตั้งแต่วันนำเข้าเก็บในคลังสินค้าทัณฑ์บนในอัตราดังนี้
|
|
ระยะเวลาฝากสินค้า (วัน)
|
บาท / ตัน / วัน
|
1 - 90
91 - 180
ตั้งแต่ 181
|
5
10 15 |
|
|
204.4. สินค้าขายทอดตลาด (Auction Cargo)
|
|
ได้รับสิทธิไม่ต้องเสียค่าภาระฝากสินค้า 3 วัน นับถัดจากวันที่ศุลกากร หรือการท่าเรือแห่งประเทศไทยขายทอดตลาด เมื่อพ้นระยะเวลาที่ได้รับสิทธิดังกล่าว จะเรียกเก็บเป็นรายวัน ในอัตราค่าภาระฝากสินค้าขาเข้า ลำดับที่ 204.1
|
|
|
|
204.5. สินค้าผ่านแดน (In-Transit Cargo)
|
|
เป็นการเรียกเก็บค่าภาระฝากสินค้าผ่านแดน ทั้งที่อยู่นอกหรือในที่เก็บสินค้า เรียกเก็บตั้งแต่วันเสร็จสิ้นการ ขนถ่ายของเรือในอัตราดังนี้
|
|
|
|
ระยะเวลาฝากสินค้า (วัน)
|
บาท / เมตริกตัน
|
1 - 60
61 - 90
|
10
20 |
นับตั้งแต่วันที่ 91 เป็นต้นไปเรียกเก็บเป็นรายวันในอัตราค่าภาระฝากสินค้าขาเข้าลำดับที่ 204.1 โดยเริ่มนับ วันที่ 91 เป็นวันเริ่มต้น
|
|
|
|
204.6. สินค้าขาออก (Export Cargo)
|
|
เป็นค่าเก็บรักษาสินค้าทั่วไป ที่ยังมิได้บรรทุกลงเรือหรือบรรจุเข้าตู้สินค้า LCL ได้รับสิทธิโดยไม่ต้องเสียค่าภาระฝากสินค้า 3 วัน นับถัด จากวันนำผ่านท่าเข้าเขตศุลกากรทางบกหรือทางน้ำ เมื่อพ้นระยะเวลาที่ได้รับสิทธิดังกล่าว จะเรียกเก็บเป็นรายวันในอัตรา
|
5 บาท / ตัน / วัน
|
|
|
205. ค่าภาระควบคุมอัคคีภัย (Fire Control Charge)
|
|
|
|
เป็นค่าควบคุมความปลอดภัยจากอัคคีภัย ในการเติมน้ำมันเชื้อเพลิงหรือการขับเคลื่อนยานพาหนะขาเข้าทุกคัน ภายในเขตศุลกากรเรียกเก็บในอัตรา
|
100 บาท / คัน
|
หากเกิดอัคคีภัยซึ่งมิใช่ความผิดของพนักงาน เจ้าของยานพาหนะต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้น.
|
|
|
|
206. ค่าภาระสินค้า (Cargo Dues)
|
|
|
|
เรียกเก็บเป็นค่าบำรุงรักษาร่องน้ำสันดอนเจ้าพระยา จากจำนวนตันของสินค้าขาเข้า ซึ่งบรรทุกมากับเรือที่ แล่นผ่านร่องน้ำสันดอนเจ้าพระยาเข้ามาโดยตรง หรือสินค้าขาเข้าที่ทำการขนถ่ายลงเรือลำเลียง หรือเรือฉลอมบริเวณ เกาะสีชังหรือที่อื่น ทำพิธีการศุลกากรที่ด่านแหลมฉบัง ท่าเรือแหลมฉบัง และนำเรือลำเลียงหรือเรือฉลอมพร้อมทั้งสินค้านั้น ผ่านร่องน้ำสันดอนเจ้าพระยา เพื่อไปทำการขนถ่ายหรือส่งมอบ ณ ท่าเรือเอกชนหรือท่าเรืออนุญาตที่ตั้งอยู่ภายในหรือภายนอกอาณาบริเวณท่าเรือกรุงเทพ
ทั้งนี้ ผู้นำเข้าหรือเจ้าของสินค้าเฉพาะราย ที่ทำการขนถ่ายที่เกาะสีชังหรือที่อื่น ต้องแจ้งรายละเอียดของสินค้าและเส้นทางของเรือ เรือลำเลียงหรือเรือฉลอม ที่บรรทุกสินค้าแล่นผ่านไปยังปลายทาง เรียกเก็บในอัตราดังนี้
|
|
ณ ท่าเรือเอกชน
|
บาท / ตัน
|
206.1. ขนถ่ายขึ้นท่าเทียบเรือหรือขนถ่ายข้างลำ
|
15
|
206.2. ขนถ่ายน้ำมันดิบหรือผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
|
|
206.2.1. บรรจุภาชนะ (หน่วยขนส่ง)
|
20
|
206.2.2. บรรจุ Tanker
|
0.50
|
ณ ท่าเรืออนุญาต
|
บาท / เมตริกตัน
|
206.3. ขนถ่ายขึ้นท่าเทียบเรือหรือขนถ่ายข้างลำ | 17.50 |
สินค้าทั่วไปหรือสินค้าในระบบตู้สินค้า
|
|
(เรียกเก็บจากผู้ประกอบการท่าเรืออนุญาต)
|
|
|
|
207. ค่าภาระสินค้าขนถ่ายข้างลำ (Overside Cargo Charge)
|
|
|
|
เรียกเก็บตามจำนวนตันจากสินค้าขาเข้า ที่ได้รับอนุญาตจากกรมศุลกากรให้ทำการขนถ่ายข้างลำส่งมอบโดย ตรง เป็นค่าใช้หลักผูกเรือทุ่น ที่ทอดสมอ หรือท่าเทียบเรือ และสิ่งอำนวยความสะดวกในการขนถ่ายสินค้าข้างลำเพื่อส่ง มอบให้แก่ผู้นำเข้า เรียกเก็บในอัตราดังนี้
|
|
ณ ที่จอดเรือท่าเรือกรุงเทพ
|
บาท / ตัน
|
207.1. สินค้าขนถ่ายข้างลำ ลงยานพาหนะทางบก ณ ท่าเทียบเรือ
|
39
|
207.2. สินค้าขนถ่ายข้างลำ ลงยานพาหนะทางน้ำ หรือลงน้ำ
|
34
|
|
|
สินค้าใดที่กรมศุลกากรไม่อนุญาตให้ทำพิธีการขนถ่ายข้างลำ แต่อนุญาตให้ขนลงเรือฉลอมหรือยานพาหนะทางน้ำ เพื่อนำสินค้าไปตรวจปล่อยนอกสถานที่ เรียกเก็บตามอัตราค่าภาระยกขนสินค้าขาเข้าลำดับที่ 201.1 แต่ไม่ต้องเสียค่าภาระฝากสินค้า
กรณีมีเหตุจำเป็นต้องนำสินค้าขนถ่ายข้างลำวางพักบนท่าเทียบเรือเป็นการชั่วคราว ให้เรียกเก็บค่าภาระการใช้ ท่าของสินค้า ลำดับที่ 105.1 เฉพาะจำนวนที่วางพักบนท่าจากผู้นำเข้า หากวางพักไว้พ้นระยะเวลาที่ได้รับสิทธิไม่ต้องเสียค่าภาระฝากสินค้าให้เรียกเก็บค่าภาระฝากสินค้าขาเข้า ลำดับที่ 204.1
|