เปลียนการแสดงผล
Rental fee


 

เป็นค่าเช่า ค่าบริการ เครื่องมือ อุปกรณ์ของท่าเรือกรุงเทพ และฝ่ายการร่องน้ำ การท่าเรือแห่งประเทศไทย ที่นำไปปฏิบัติงานนอกเหนือจากการให้บริการตามปกติ หรือเป็นค่าธรรมเนียมต่างๆ ในการขออนุญาตนำเครื่องมือ อุปกรณ์ภายนอกเข้ามาปฏิบัติงานในเขตศุลกากรท่าเรือกรุงเทพ โดยเรียกเก็บจากผู้ขอเช่า หรือผู้ขออนุญาต ดังนี้

(1) กรณีขอเช่า เครื่องมือ อุปกรณ์ ไปใช้ปฏิบัติงานนอกเขตศุลกากร ท่าเรือกรุงเทพคิดค่าเช่าเป็น 2 ช่วง
 
- ขณะเดินทางคิดค่าบริการในอัตราปกติ
 
- ขณะปฏิบัติงานคิดค่าบริการเป็น 2 เท่าของอัตราที่เรียกเก็บ
 
(2) การนับเวลาต่อจากชั่วโมงแรก เศษของชั่วโมงไม่ถึงครึ่งชั่วโมงให้คิดครึ่งชั่วโมง ถ้าเกินครึ่งชั่วโมงให้คิดเป็น 1 ชั่วโมง
 
(3)  การท่าเรือแห่งประเทศไทย สงวนสิทธิที่จะเปลี่ยนแปลงอัตราค่าเช่า ค่าบริการตามราคาทุนของเครื่องมืออุปกรณ์ที่เพิ่มขึ้น
------------------------------------------------------
1. ค่าเช่า ค่าบริการ เครื่องมือ อุปกรณ์ และค่าธรรมเนียมต่างๆ ของ ท่าเรือกรุงเทพ
 
 
  ลำดับ
ที่
  ค่าเช่า ค่าบริการ ค่าธรรมเนียม   อัตรา  
 
             
  1.1    ค่าเช่าปั้นจั่นยกตู้สินค้าหน้าท่า      
       (RAIL MOUNTED SHORESIDE CONTAINER CRANE)   บาท / ครั้ง  
     
1.1.1 ยกตู้สินค้าน้ำหนักเกินกว่า 32.5 แต่ไม่เกิน 38 เมตริกตัน 
  2,250  
             
     
1.1.2 ยกสินค้าทั่วไป 
     
     
 
1.1.2.1 สินค้าน้ำหนักไม่เกิน 20 เมตริกตัน
  1,500  
     
 
1.1.2.2 สินค้าน้ำหนักเกินกว่า 20 แต่ไม่เกิน 38 เมตริกตัน
  3,000  
             
     
1.1.3 ยกฝาระวาง
  บาท / ฝา / ครั้ง  
     
 
1.1.3.1 เปิดหรือปิดวางพักบนเรือ
  1,500  
     
 
1.1.3.2 เปิดหรือปิดวางพักบนท่า
  2,000  
             
     
1.1.4 กรณีการใช้ปั้นจั่นของเรือหรือเอกชนยกตู้สินค้าหรือสินค้าตาม 1.1.1
 หรือ 1.1.2 หรือ 1.1.3.2 คิดค่าธรรมเนียมร้อยละ 25 ของอัตราที่กำหนด
     
             
  1.2    ค่าเช่ารถปั้นจั่นเคลื่อนที่ (MOBILE CRANE)   บาท / คัน / ชม.  
             
     
1.2.1 ขนาด 10 ตัน
  1,200  
     
1.2.2 ขนาด 50 ตัน
  5,400  
             
  1.3    ค่าเช่ารถยก (FORK LIFT TRUCK)   บาท / คัน / ชม.  
             
     
1.3.1 ขนาด 2 ตัน
  400  
     
1.3.2 ขนาด 3 ตัน
  500  
     
1.3.3 ขนาด 5 ตัน
  600  
     
1.3.4 ขนาด 10 ตัน
  1,000  
     
1.3.5 ขนาด 15 ตัน
  1,200  
             
  1.4    ค่าเช่ารถยกตู้สินค้า (CONTAINER LIFTING EQUIPMENT)   บาท / คัน / ชม.  
             
     
1.4.1 ขนาด 5-16 ตัน (EMPTY CONTAINER STACKER)
  1,800  
     
1.4.2 ขนาด 30-40 ตัน (TOP LOADER, CONTAINER STACKER)
  4,000  
             
  1.5    ค่าเช่ารถหัวลาก (TRACTOR FOR TRAILER)   บาท / คัน / ชม.  
         ขนาด 30 ตัน   1,000  
             
  1.6    ค่าเช่ารถลากจูง (TOWING TRACTOR) ขนาด 3.5-5 ตัน (8,000-12,000 
  ปอนด์)
  800  
             
  1.7    ค่าเช่ารถพ่วง (TRAILER)   บาท / คัน / ชม.  
             
     
1.7.1 ขนาดไม่เกิน 10 ตัน
  50  
     
1.7.2 ขนาดไม่เกิน 10-30 ตัน
  100  
     
1.7.3 รถพ่วงเอนกประสงค์ (MULTI PURPOSE) ขนาด 5-10 ตัน
  75  
     
1.7.4 รถพ่วงเอนกประสงค์ (MULTI PURPOSE) ขนาด 10-30 ตัน
  150  
     
1.7.5 รถพ่วงบรรทุกตู้สินค้า (CONTAINER CHASSIS) ขนาด 30 ตัน
  150  
             
  1.8    ค่าเช่ารถยนต์บรรทุก (MOTOR TRUCK) ขนาด 5-7 ตัน   500  
             
  1.9    ค่าเช่าเครื่องมือทุ่นแรงอื่นๆ (OTHER HANDLING EQUIPMENT)   บาท / อัน / ชม.  
             
     
1.9.1 โครงเหล็กยกตู้สินค้า (SPADER) ขนาด 20/40 ฟุต 
  หรือโครงเหล็กยกสินค้าหนัก
  200  
          บาท / ชุด / ชม.  
     
1.9.2 เครื่องยกไม้รองสินค้า (PALLET GEAR)
  20  
          บาท / แผง / ชม.  
     
1.9.3 ไม้รองสินค้า (PALLET) ขนาด 2 ตัน
  20  
          บาท / เส้น / ชม.  
     
1.9.4 ลวดสลิง
  20  
             
     
1.9.5 อุปกรณ์อื่นๆ ให้ทำความตกลงเป็นรายๆ ไป
     
             
  1.10    ค่าบริการโทรศัพท์บนเรือ (TELEPHONE SERVICE ON BOARD)   บาท / เครื่อง / วัน  
             
         เป็นค่าโทรศัพท์บนเรือที่เทียบท่าเทียบเรือ เรียกเก็บเป็นรายวันในอัตรา   300  
             
  1.11    ค่าบริการน้ำจืด (WATER SUPPLY SERVICE)   บาท / ลูกบาศก์เมตร  
             
     
1.11.1 ค่าน้ำจืด เรียกเก็บในอัตรา
  25  
             
     
1.11.2 ค่าบริการเรือบรรทุกน้ำ ณ สถานที่ต่างๆ (DISTANCE 
                      SURCHARGE)
 
เรียกเก็บเพิ่มขึ้นจากลำดับที่ 1.11.1 ตามสถานที่จอดเรือ ดังนี้
  บาท / เที่ยวปฏิบัติการ  
     
 
1.11.2.1 บริเวณท่าเทียบเรือ หรือหลักผูกเรือคลองเตย
  550  
     
 
1.11.2.2 บริเวณบางหัวเสือ หรือสาธุประดิษฐ์
  5,000  
     
 
1.11.2.3 บริเวณบางปลากด หรือท้ายบ้าน
  7,000  
     
 
1.11.2.4 บริเวณสันดอนปากน้ำเจ้าพระยา
  20,000  
             
  1.12    ค่าบริการชั่งรถบรรทุกสินค้า      
             
         เป็นค่าใช้รถบรรทุกสินค้า เรียกเก็บเมื่อมีการขอชั่ง ในอัตราดังนี้   บาท / คัน / เที่ยว  
     
1.12.1 รถบรรทุกสินค้า ขนาด 4-6 ล้อ
  30  
     
1.12.2 รถบรรทุกสินค้า ขนาด 8-10 ล้อ
  40  
     
1.12.3 รถบรรทุก ขนาดเกิน 10 ล้อ หรือรถเทรลเลอร์
  50  
             
  1.13    ค่าบริการชั่งตู้สินค้า (CONTAINER WEIGHING SERVICE)   บาท / ตู้ / ครั้ง  
          20'  40'  45'  
         เป็นค่าใช้เครื่องชั่งตู้สินค้า เรียกเก็บเมื่อมีการขอชั่งในอัตรา   30   40   50  
             
  1.14    ค่าบริการตู้สินค้าห้องเย็น (REEFER CONTAINER SERVICE)      
             
         เป็นค่าใช้อุปกรณ์และกระแสไฟฟ้า สำหรับตู้สินค้าห้องเย็น เรียกเก็บในอัตรา ดังนี้   บาท / ตู้
20'   40'   45'
 
     
1.14.1 ทดสอบก่อนใช้ (PRE-TRIP INSPECTION)
  215  350  405  
             
         ถ้าใช้กระแสไฟฟ้าเกิน 3 ชั่วโมง คิดเป็น 1 วัน ตามลำดับที่ 1.14.2   บาท / ตู้ / วัน
20'   40'   45'
 
     
1.14.2 ใช้กระแสไฟฟ้า (ELECTRICITY SUPPLY)
  430  700  810  
             
  1.15    ค่าบริการเคลื่อนย้ายตู้สินค้าเปล่า      
             
         เป็นค่าใช้เครื่องมือทุ่นแรงในการเคลื่อนย้ายตู้สินค้าเปล่าเพื่อนำไปทำการซ่อม 
 หรือล้างทำความสะอาดและนำกลับมายังกองที่เก็บกองตู้สินค้าเปล่า
  บาท / ตู้
450
 
             
  1.16    ค่าธรรมเนียมยานพาหนะและเครื่องมือทุ่นแรงผ่านท่า (ADMISSION FEE FOR 
 VEHICLE AND EQUIPMENT)
     
             
         เป็นค่านำยานพาหนะและเครื่องมือทุ่นแรงเข้ามาในเขตศุลกากร เรียกเก็บในอัตราดังนี้      
     
1.16.1 ค่าธรรมเนียมผ่านท่า บรรทุกเที่ยวเดียว
  บาท / คัน / เที่ยว  
     
 
1.16.1.1 รถยนต์บรรทุกไม่เกิน 6 ล้อ
  25  
     
 
1.16.1.2 รถยนต์บรรทุก 8 ล้อ หรือ 10 ล้อ
  35  
     
 
1.16.1.3 รถยนต์หัวลาก
  35  
     
 
1.16.1.4 รถพ่วงไม่เกิน 6 ล้อ
  45  
     
 
1.16.1.5 รถพ่วง 8 ล้อ หรือ 10 ล้อ
  65  
     
 
1.16.1.6 รถพ่วง เกิน 10 ล้อ
  110  
     
 
1.16.1.7 รถยก
  110  
     
 
1.16.1.8 รถยกตู้สินค้า
  220  
     
 
1.16.1.9 รถแทรกเตอร์ หรือรถปั้นจั่น ขนาดยกได้ไม่เกิน 100 ตัน
  330  
     
 
1.16.1.10 รถปั้นจั่น ขนาดยกได้เกิน 100-200 ตัน
  440  
     
 
1.16.1.11 รถปั้นจั่น ขนาดยกได้เกิน 200-300 ตัน
  550  
     
 
1.16.1.12 รถปั้นจั่น ขนาดยกได้เกิน 300 ตัน
  660  
     
 
1.16.1.13 รถไฟทุกประเภท
  35  
             
     
1.16.2 ค่าธรรมเนียมผ่านท่า บรรทุก 2 เที่ยว
     
     
 
กรณีบรรทุกสินค้าขาออกเข้ามา แล้วรับสินค้าขาเข้าออกไปด้วย 
  ให้จัดเก็บในอัตรา ดังนี้
  บาท / คัน / 2 เที่ยว  
     
 
1.16.2.1 รถยนต์บรรทุกไม่เกิน 6 ล้อ
  40  
     
 
1.16.2.2 รถยนต์บรรทุก 8 ล้อ หรือ 10 ล้อ
  50  
     
 
1.16.2.3 รถยนต์หัวลาก
  50  
     
 
1.16.2.4 รถพ่วงไม่เกิน 6 ล้อ
  70  
     
 
1.16.2.5 รถพ่วง 8 ล้อ หรือ 10 ล้อ
  100  
     
 
1.16.2.6 รถพ่วงเกิน 10 ล้อ
  170  
             
         ค่าธรรมเนียมตามลำดับที่ 1.16.1 และ 1.16.2 ได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) ไว้
  ด้วยแล้ว
     
             
     
1.16.3 ค่าธรรมเนียมอยู่ในเขตศุลกากร
     
     
 
เป็นค่าอยู่ในเขตศุลกากรของยานพาหนะและเครื่องมือทุ่นแรง เกิน 24 
  ชั่วโมง นับตั้งแต่เวลาที่นำเข้า เรียกเก็บเป็นรายวัน ในอัตราดังนี้
  บาท / คัน / วัน  
     
 
1.16.3.1 รถยนต์บรรทุกไม่เกิน 6 ล้อ
  150  
     
 
1.16.3.2 รถยนต์บรรทุก 8 ล้อ หรือ 10 ล้อ
  200  
     
 
1.16.3.3 รถยนต์หัวลาก
  100  
     
 
1.16.3.4 รถพ่วง
  250  
     
 
1.16.3.5 รถยก
  200  
     
 
1.16.3.6 รถยกตู้สินค้า
  300  
     
 
1.16.3.7 รถแทรคเตอร์หรือรถปั้นจั่น ขนาดยกได้ไม่เกิน 100 ตัน
  500  
     
 
1.16.3.8 รถปั้นจั่น ขนาดยกได้เกิน 100-200 ตัน
  600  
     
 
1.16.3.9 รถปั้นจั่น ขนาดยกได้เกิน 200-300 ตัน
  700  
     
 
1.16.3.10 รถปั้นจั่น ขนาดยกได้เกิน 300 ตัน
  800  
     
 
1.16.3.11 รถไฟทุกประเภท
  20  
             
     
กรณีที่มีสินค้า / ตู้สินค้าบรรทุกอยู่บนรถยนต์บรรทุกหรือรถพ่วงด้วย 
  ให้ยกเว้นค่าธรรมเนียม อยู่ในเขตศุลกากรรถยนต์บรรทุกหรือรถพ่วงนั้น
     
             
  1.17    ค่าธรรมเนียมปั้นจั่นลอยน้ำ (FLOATING CRANE FEE)      
             
         เป็นค่าธรรมเนียมการปฏิบัติงานยกสิ่งของขึ้นจากเรือหรือลงเรือ 
  ของปั้นจั่นลอยน้ำเอกชน ณ ที่จอดเรือของท่าเรือกรุงเทพ เรียกเก็บในอัตรา
  บาท / ชม.
1,000
 
             
             
  ***   ประกาศเพิ่มเติม 12 ธ.ค. 2545      
     

ค่าเคลื่อนย้ายตู้สินค้าขึ้นหรือลงรถไฟ

     
      ชำระตามประเภทและชนิดของตู้สินค้า และชำระค่าดำเนินการเคลื่อนย้ายตู้สินค้าขึ้นหรือลงรถไฟในอัตราร้อยละ 20 ของอัตราค่าภาระยกขนตู้สินค้า ยกตู้สินค้าขาออกลงจากยานพาหนะ (LIFT OFF CHARGE)(ข้อ 313.2) นำผ่านท่าเข้าเขตศุลกากรทางบก ตามที่กำหนดไว้ในอัตราค่าภาระท่าเรือกรุงเทพ      
             
  ***   ประกาศเพิ่มเติม 12 ธ.ค. 2545      
      ค่าธรรมเนียมการใช้สิ่งอำนวยความสะดวก (FACILITIES USAGE FEE) 
สำหรับตู้สินค้า LCL ขาเข้า ที่เปิดตู้นำสินค้าเข้าเก็บในที่เก็บสินค้า
หรือเพื่อส่งมอบที่หน้าตู้โดยตรง
     
          บาท / ตู้  
     
ตู้สินค้าขนาด 20 ฟุต
  200  
     
ตู้สินค้าขนาด 40 ฟุต
  400  
     
ตู้สินค้าขนาดเกิน 40 ฟุต
  450  
             
  ***   ประกาศเพิ่มเติม 16 ธ.ค. 2545      
      ค่าธรรมเนียมยานพาหนะผ่านท่าในการนำรถบรรทุกเปล่าเข้าไปรับสินค้าหรือตู้สินค้าขาเข้าภายในเขตศุลกากรท่าเรือกรุงเทพ      
     
สินค้าไม่เกิน 1 ตัน (Revenue Tonne)
 
  เรียกเก็บ 30 บาท  
     
สินค้าส่วนที่เกินกว่า 1 ตัน (Revenue Tonne) เก็บเพิ่มอีกตันละ
(เศษของ 1 ตัน คิดเป็น 1 ตัน)
  ตันละ 5 บาท  
     
ตู้สินค้าขนาด 20 ฟุต
  ตู้ละ 100 บาท  
     
ตู้สินค้าขนาด 40 ฟุตหรือเกินกว่า 40 ฟุต
  ตู้ละ 200 บาท  
             
 
 
2. ค่าเช่า และค่าบริการ ของฝ่ายการร่องน้ำ
 
 
  ลำดับ
ที่
  ค่าเช่า ค่าบริการ   อัตรา  
 
             
  2.1    ค่าบริการสำรวจความลึกทางน้ำ      
             
     
เป็นค่าสำรวจความลึกหน้าท่าเทียบเรือ อู่เรือ แอ่งจอดเรือหรือทางเดินเรือ พร้อมการจัดทำแผนที่ความลึก และคำนวณปริมาณดินที่ต้องทำการขุดลอกให้ได้ความลึกตามเกณฑ์ ซึ่งจะเสนอแก่ผู้ขอใช้บริการ
  บาท / ชม.  
     
ค่าบริการแต่ละงาน จะคำนวณจากระยะเวลาในการทำการสำรวจของเรือสำรวจในอัตรา
  6,000  
             
     
 
 
  บาท / งาน  
     
ค่าบริการขั้นต่ำ
  20,000  
             
     
การบริการนอกอาณาบริเวณท่าเรือกรุงเทพ ต้องคิดค่าเคลื่อนย้ายเครื่องมือและค่าใช้จ่ายอื่นๆ (ถ้ามี) ซึ่งจะทำการตกลงเป็นรายๆ ไป
     
             
  2.2    ค่าบริการขุดลอก (DREDGING SERVICE)      
             
     
เป็นค่าขุดลอกหน้าท่าเทียบเรือ อู่เรือ แอ่งจอดเรือ หรือทางเดินเรือตามกรรมวิธีของเรือ ขุดแบบต่างๆ และนำดินที่ขุดได้ไปทิ้ง ณ ตำบลที่เหมาะสม พร้อมการสำรวจความลึกระหว่างทำการขุด และจัดทำแผนที่ความลึกเมื่อเสร็จสิ้นการขุด ซึ่งจะเสนอแก่ผู้ขอใช้บริการ
     
             
     
2 .2.1 การขุดลอกด้วยเรือขุดประจำที่ (STATIONARY DREDGING)
     
     
 
เป็นการขุดลอกด้วยเรือขุดแบบถังตักดิน (BUCKET) หรือแบบงับดิน (CLAMSHELL) หรือแบบแขนตักดิน (BACKHOE) และลำเลียงดินที่ขุดได้ไปทิ้งโดยเรือบรรทุกดิน (BARGE)
  บาท / ลูกบาศก์เมตร  
             
     
ค่าบริการแต่ละงานจะคำนวณจากปริมาณดินที่ต้องทำการขุดลอกให้ได้ความลึกตามเกณฑ์ ในอัตรา
  70  
          บาท / งาน  
     
 
ค่าบริการขั้นต่ำ
  350,000  
             
     
 
การบริการนอกอาณาบริเวณท่าเรือกรุงเทพ ต้องคิดค่าเคลื่อนย้ายเครื่องมือในการขุดลอกและสำรวจ ค่าสำรวจตำบลที่ทิ้งดิน ส่วนเพิ่มค่าทิ้งดิน และค่าใช้จ่ายอื่นๆ (ถ้ามี) ซึ่งจะทำความตกลงเป็นรายๆ ไป
     
             
     
2.2.2 การขุดลอกด้วยเรือขุดเดินทะเลแบบยุ้งดิน ขนาด 2,500 ลูกบาศ์กเมตร (2,500 CUM. TRAILING SUCTION HOPPER DREDGING)
     
             
     
 
ค่าบริการแต่ละงาน จะคำนวณจากจำนวนวันหรือปริมาณดินที่ต้องทำการขุดลอกให้ได้ความลึกตามเกณฑ์ในอัตรา/วัน หรือ /ลูกบาศ์กเมตร วึ่งแปรผันตามระยะทางระหว่างตำบลที่ขุดกับตำบลที่ทิ้งดิน และราคาน้ำมันเชื้อเพลิง ณ วันคำนวณราคางาน โดยใช้สูตร
     
             
     
อัตราค่าขุดลอก = 340000 + [@ (9636 + 1650 D) / (0.66 + 0.25 D)] บาท / วัน หรือ
  = (4.675 + 1.771 D) + @ (0.201 + 0.034 D) บาท / ลูกบาศ์กเมตร
 
ทั้งนี้ D = ระยะทางระหว่างตำบลที่ขุดกับตำบลทิ้งดิน (ไมล์ทะเล)
      @ = ราคาน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว ณ วันคำนวณราคางาน (บาท / ลิตร)
     
             
     
การบริการแต่ละงาน ต้องคิดค่าเคลื่อนย้ายเครื่องมือในการขุดลอกและสำรวจ ค่าสำรวจตำบลทิ้งดิน และค่าใช้จ่ายอื่นๆ (ถ้ามี) ซึ่งจะทำความตกลงเป็นรายๆ ไป
     
             
     
2.2.3 การขุดลอกด้วยเรือขุดประจำที่ร่วมกับเรือขุดเดินทะเลแบบยุ้งดินขนาด 2,500 ลูกบาศ์กเมตร
     
             
     
ค่าบริการแต่ละงาน จะคำนวณจากปริมาณดินที่ต้องทำการขุดลอกให้ได้ความลึกตามเกณฑ์ ตามปริมาณที่ทำการขุดด้วยเรือขุดแต่ละแบบ ในอัตราต่อลูกบาศ์กเมตรดังกล่าวในข้อ 2.1 และ 2.2
     
             
     
การบริการแต่ละงานต้องต้องคิดค่าเคลื่อนย้ายเครื่องมือในการขุดลอกและสำรวจ ค่าสำรวจตำบลทิ้งดิน ส่วนเพิ่มค่าทิ้งดินตามปริมาณที่ทำการด้วยเรือขุดประจำที่ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ (ถ้ามี) ซึ่งจะทำความตกลงเป็นรายๆ ไป
     
     
 
     
  2.3    ค่าบริการวางทุ่นเครื่องหมายเรือจม      
             
     
เป็นค่าจัดหา วาง และเก็บทุ่นเครื่องหมายแสดงตำแหน่งเรือจมภายในหรือนอกอาณาบริเวณท่าเรือกรุงเทพ ซึ่งเรียกเก็บจากเจ้าของเรือหรือผู้ขอใช้บริการ
     
             
     
ค่าบริการแต่ละงานจะคำนวณจากระยะเวลาในการเดินทางไปทำการวางทุ่น และเก็บทุ่นของเรือบริการทุ่น รวมกับค่เสื่อมราคาของทุ่น ตลอดจนค่าใช้จ่ายอื่นๆ ในอัตรา
  บาท / ชม.
5,000
 
             
     
ระยะเวลาทำการของเรือบริการทุ่นที่นำมาคำนวณค่าบริการให้คิดรวมทั้งเที่ยวไปวางและเก็บทุ่น โดยเริ่มนับตั้งแต่เวลาที่เรือออกจากท่าจนถึงเวลาที่เรือกลับถึงท่า
     
             
  2.4    ค่าเช่าเรือ (HIRE OF FLOATING CRAFT)      
             
     
เป็นค่าเช่าเรือพร้อมพนักงานประจำเรือ ซึ่งจะเรียกเก็บจากผู้ขอเช่า โดยคำนวณค่าเช่าตามระยะเวลา ในอัตราดังนี้
     
             
     
2.4.1 เรือบริการทั่วไป (GENERAL SERVICE BOAT)
  บาท / ชม.  
     
 
2.4.1.1 ขนาด 240 แรงม้า (ร่องน้ำ 16)
  1,000  
     
 
2.4.1.2 ขนาด 270-420 แรงม้า (ท่าเรือ 102, 109)
  3,000  
             
     
2.4.2 เรือลากจูงขนาด 200-350 แรงม้า (ลากจูง 2, 3, 4, 5)
  2,200  
             
     
2.4.3 เรือบริการทุ่น (BUOY TENDER ท่าเรือ 103)
  5,000  
             
     
ระยะเวลาที่นำมาคำนวณค่าเช่า เริ่มนับตั้งแต่เวลาที่เรือออกจากท่า จนถึงเวลาที่เรือกลับถึงท่า
     
             
     
การเช่าเพื่อนำไปใช้งานนอกอาณาบริเวณท่าเรือกรุงเทพ ให้ทำความตกลงเป็นรายๆ ไป
     
             
  2.5    ค่าบริการและค่าเช่าเรืออื่นๆ      
             
     
การบริการตามข้อ 2.1 ถึง 2.3 ในลักษณะที่สมควรคำนวณค่าบริการหรือค่าเช่าในอัตราต่างจากที่ระบุไว้ หรือการบริการอื่นๆ หรือการเช่าเรือนอกเหนือจากที่ระบุในข้อ 2.4 ต้องตำนวณค่าบริการหรือค่าเช่าเป็นรายๆ ไป